- เน้นที่การแสดงการทำงานของข้อความต่าง ๆ ในระบบ อธิบายการโต้ตอบในระบบ
- เป็น Diagram ที่นำมาแทน Collaboration Diagram ใน UML 1.X.
รูปที่ 1 สัญลักษณ์ของ Communication Diagram
ตัวอย่าง Communication Diagram
การกำหนดลำดับการทำงานของข้อความควรเริ่มต้นด้วยการสร้างลิ้งค์ระหว่าง Object ก่อน จากนั้นทำการระบุข้อความต่าง ๆ ของระบบที่เรากำลังสนใจ ระบุลำดับให้กับข้อมความเหล่านั้น โดยการาใช้ตัวเลขจำนวนเต็ม เช่น 1.1, 3.2, 3.2.4 เป็นต้น นอกจากนั้นมีการใช้ตัวอักษรร่วมด้วย เพื่อแสดงระดับการทำงานที่เท่ากันของข้อความมากกว่า 1 ข้อความ เช่น 1.1a และ 1.1b เป็นข้อความที่อยู่ระดับเดียวกัน
- ในกรณีต้องการระบุว่าข้อความใดมีการทำซ้ำ (ภายใต้เงี่ยนไข) ให้ใช้สัญลักษณ์ดอกจัน (*) ตามด้วยเงื่อนไขการทำซ้ำ และข้อความที่ต้องการให้ทำซ้ำ
- การกำหนดให้ข้อความที่มีการทำซ้ำให้ทำงานไปพร้อม ๆ กัน แบบคู่ขนาน ให้ใช้สัญลักษณ์ | | ตามหลังเครื่องหมายดอกจัน
- กรณีต้องการกำหนดเงื่อนไขการทำงานให้กับข้อความ ด้วย Guard-Condition ซื่งเป็นเงื่อนไขที่เป็นจริงหรือเท็จช่วยในการกำหนดเงื่อนไขดังกล่าว
- สัญลักษณ์ที่ใช้จะเหมือนสัญลักษณ์การวนซ้ำแต่ไม่มีเครื่องหมายดอกจันนำหน้า
ตัวอย่างการใช้งาน Communication Diagram
การกำหนดลำดับการทำงานของข้อความควรเริ่มต้นด้วยการสร้างลิ้งค์ระหว่าง Object ก่อน จากนั้นทำการระบุข้อความต่าง ๆ ของระบบที่เรากำลังสนใจ ระบุลำดับให้กับข้อมความเหล่านั้น โดยการาใช้ตัวเลขจำนวนเต็ม เช่น 1.1, 3.2, 3.2.4 เป็นต้น นอกจากนั้นมีการใช้ตัวอักษรร่วมด้วย เพื่อแสดงระดับการทำงานที่เท่ากันของข้อความมากกว่า 1 ข้อความ เช่น 1.1a และ 1.1b เป็นข้อความที่อยู่ระดับเดียวกัน
- ในกรณีต้องการระบุว่าข้อความใดมีการทำซ้ำ (ภายใต้เงี่ยนไข) ให้ใช้สัญลักษณ์ดอกจัน (*) ตามด้วยเงื่อนไขการทำซ้ำ และข้อความที่ต้องการให้ทำซ้ำ
- การกำหนดให้ข้อความที่มีการทำซ้ำให้ทำงานไปพร้อม ๆ กัน แบบคู่ขนาน ให้ใช้สัญลักษณ์ | | ตามหลังเครื่องหมายดอกจัน
- กรณีต้องการกำหนดเงื่อนไขการทำงานให้กับข้อความ ด้วย Guard-Condition ซื่งเป็นเงื่อนไขที่เป็นจริงหรือเท็จช่วยในการกำหนดเงื่อนไขดังกล่าว
- สัญลักษณ์ที่ใช้จะเหมือนสัญลักษณ์การวนซ้ำแต่ไม่มีเครื่องหมายดอกจันนำหน้า
รูปที่ 2 Communication Diagram
ตัวอย่างการใช้งาน Communication Diagram
No comments:
Post a Comment